by www.zalim-code.com

วันพุธที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2556

Learning No. 11

การเข้าเรียน ครั้งที่ 11


วันที่ 21 สิงหาคม 2556 เวลาเรียน 08.30น. - 12.20 น.
.



งานที่ต้องรับผิดชอบ

- .ให้ไปเเก้้ไขของเล่นวิทยาศาสตร์ สื่อเข้ามุม สื่่อทดลอง ที่ยังซ้ำกับเพื่อน
-  ให้ไปทดลองว่าวใบไม้ ว่าเป็นอย่างไร

องค์ความรู้ใหม่ ( New knowledge )

การทำงานทุกอย่างต้องมีการวางเเผนงานที่ดี แบ่งตำเเหน่งหน้าที่ให้เหมาะสมกับความสามารถ
ของเเต่ละบุคคล เพื่อที่ทุกคนจะได้ทำงานในสิ่งที่ตนเองถนัด เเละผลงานที่ออกมาจะดีเช่นกัน 

จะเอาไปใช้อย่างไรApplying)

- การวางเเผน เตรียมงานในการทำโครงการไปดูงานนอกสถานที่นี้อาจารย์ให้เราทำเองเกือบทุกขั้นตอน เพื่อที่เราจะได้รับประสบการณ์ใหม่ๆที่เราไม่เคยทำ หรือเคยรู้มาก่อนจะได้รุ้ทำให้เราต้องไปศึกษาในส่วนที่ทำไม่เป็น แก้ไขส่วนที่ทำเป็นแต่ยังไม่ดีเท่าที่ควร เป็นประสบการณ์ที่หาซื้อไม่ได้  หากมีการจัดทำโครงการในโอกาสหน้าเราก็นำเอาประสบการณ์นี่ช้ที่เรามีการใช้ให้เกิดประโยชน์ได้
- สิ่งที่เราได้รับมอบหมายมา เราต้องทำหน้าที่ของเราให้ดีที่สุด ในส่วนหน้าที่ ที่ได้มอบหมายให้เเต่ละคนทำ หากไม่ทำ เราก็ต้องยื่นมือเข้าไปทำเพื่อที่งานในครั้งนี้จะสำเร็จไปด้วยดี เราทำเราเหนื่อยหน่อย เเต่สิ่งที่ได้กลับคืนมามันคุ้มค่าที่สุด
     
งานที่ต้องรับผิดชอบ(Tasks assigned)

- รับผิดชอบเกียวกับการไปศึกษาดูงานนอกสถานที่










หลักการขึ้นของว่าวใบไม้
(Principles.)


ว่าวใบไม้

   เป็นว่าวที่ใช้ลากเล่นครับ แต่ไม่สามารถลอยกินลมได้นานๆ เหมือนว่าวทั่วไป จุดเด่นอยู่ที่เป็นกระบวนการสอนให้เด็กๆ ใช้ของจากธรรมชาติ มาประดิษฐ์เป็นของเล่นง่ายๆ ครับ ไม่เปลืองตังค์ดี
ว่าวใบไม้ ทำจากใบไม้หลายประเภท เช่น ใบต้นหัวว่าว (กระแตไต่ไม้), ใบยาง, ใบไผ่ บางแห่งก็ใช้ใบไม้อื่น เช่น หูกวาง

     การเล่นว่าวต้องอาศัยลม ลมเป็นปัจจัยที่เราไม่อาจควบคุมได้ บางวันลมแรง บางวันลมอ่อน เราจะควบคุมได้ก็เพียงตัวว่าวของเราเอง
เมื่อว่าวปะทะลม จะมีแรงมาเกี่ยวข้องด้วยคือ แรงจากน้ำหนักของว่าว แรงฉุดไปตามทิศทางของลม และแรงยกในทิศทางตรงข้ามของน้ำหนัก ผลรวมของแรงทั้งสาม เกิดเป็นแรงลัพท์ที่ทำให้ว่าวลอยขึ้นไปได้ และทิศทางของแรงลัพท์นี้ จะอยู่ในแนวเดียวกับแนวเชือกว่าวที่ต่อออกจากคอซุงพอดี

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น